ศิวลึงค์ ฐาน 4 เหลี่ยม และ 8 เหลี่ยม สภาพสมบูรณ์ แข็งแรง
ส. 36 สผ. 9
พุทธศตวรรษที่ 13 - 14
พบในบริเวณโบราณสถานที่ดินของ นายลิขิต เห็นจริง บ้านสระกูด หมู่ที่ 10 ต.เสาเภา อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช
หินทราย
อาคารจัดแสดงห้องพราหมณ์-ฮินดู ในตู้รูปตัว U
ศิวลึงค์แบบประเพณีนิยม ประกอบด้วยชั้นล่างสุด พรหมภาคอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ชั้นกลางวิษณุภาครูปทรงแปดเหลี่ยม ชั้นบนรุทรภาครูปทรงกระบอกปลายมนมีการสลักเส้นตั้งเส้นหนึ่งเรียกว่าเส้นพรหมสูตรและเส้นลากออกไปด้านข้างทั้งสองข้างเรียกว่าเส้นปารศวสูตร เลียนแบบอวัยวะเพศชาย ทำด้วยทองคำ วัดขนาดแยกตามส่วนได้ดังนี้ รุทรภาค สูง 1.2 ซม.เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.9 ซม. วิษณุภาค สูง 0.4 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6 ซม. พรหมภาค สูง 0.4 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.6 ซม. ฐานทำด้วยเงิน ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีรูสี่เหลี่ยมตรงกลาง กว้าง 0.8 ซม. ลึก 0.6 ซม. พร้อมแผ่นทอง 3 แผ่น สภาพสมบูรณ์ แข็งแรง
ดินเผา
หิน
หิน หินปูน
หิน